ประเพณีไทย Traditional Thailand

ประเพณีไทย(traditional thailand ) กระบวนพยุหยาตราชลมารค

ประเพณีไทย Author on วันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ประเพณีไทย/วัฒนธรรมประเพณีไทย/วัฒนธรรมประเพณี 
ประเพณีไทย ( prapheni thai ) ในบ้านเรานั้นมีอยู่ประเพณีนึง
ที่สำคัญที่สุด ประเพณีไทย ( prapheni thai ) นี้ถูกสืบทอดกันมายาวนาน
หลายราชกาลแล้ว ประเพณีไทย ( prapheni thai ) นี้พวกเราชาวไทยจะเรียกประเพณีนี้ว่า
กระบวนพยุหยาตราชลมารค เป็น ประเพณีไทย ( prapheni thai ) 
ที่สวยงามตระการตาเพราะใน ประเพณีไทย ( prapheni thai ) 
นี้นาน ๆ ที หรือ 4 ปีมีครั้งก็ว่าได้เลยครับ ประเพณีไทย ( prapheni thai ) 
กระบวนพยุหยาตราชลมารคเป็นประเพณีทีสวยงามมาก
จึงทำให้พี่น้องชาวไทยที่อยู่คนละพื้นที่ต่างหลั่งไหลมารวมกันที่
จัดพิธีนี้ และ ด้วยเมื่อสมัยยก่อนทุกครั้งที่มีประเพณี หรือ พิธี กระบวนพยุหยาตราชลมารค
ชาวบ้านที่อยู่แถวนั้นจะต้องปิดหน้าต่างหรือประตูบ้านทุกบาน
ซึ่งในพิธีนี้สำคัญจึงต้องเน้นความปลอดภัย
ประวัติของ ประเพณีไทย ( prapheni thai ) หรือ พิธี กระบวนพยุหยาตราชลมารค
ประเพณีไทย ( prapheni thai ) หรือ พิธี กระบวนพยุหยาตราชลมารค
ในการที่เสด็จทางน้ำที่เรียกว่า กระบวนพยุหยาตราชลมารค 
นั้นก็ได้มีหลักฐานตั้งมาตั้งแต่นมนานในสมัยกรุงสุโขทัย 
ปรากฏไว้ว่า พระร่วงเจ้า ( พระมหาธรรมราชา ๑ )
ทรงได้ใช้เรือใน ประเพณีไทย ( prapheni thai )
เพื่อที่ออกลอยกระทง หรือ พิธีจองเปรียง ณ กลางสระน้ำ
พร้อมทั้งเผาเทียนเล่นไฟในยามคืนเพ็ญเดือนสิบสอง
ในยุคของกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีตามที่พงศาวดารบันทึกเอาไว้ว่า
สมเด็จพระนเรศวร คราวที่ทรงได้เสด็จไปตีเมืองเมาะตะมะ
ทรงได้เสด็จพระราชดำเนินจากกรุงศรีอยุธยา
โดย ประเพณีไทย ( prapheni thai ) หรือ พิธี ปรชลมารค
เมื่อถึงเวลาฤกษ์ พระโหราราชครูอธิบดีศรีทิชาจารย์
ได้ลั่นกลองฆ้องชัยให้พาย เรือพระที่นั่งศรีสุพรรณหงส์
ซึ่ง เรือพระที่นั่งศรีสุพรรณหงส์ นั้นเป็น เรือทรงพระพุทธปฏิมากรทองนพคุณ
บรรจุพระบรมสารีริกธาตุถวายพระนามสมญา “พระพิชัย” 
นำกระบวนออกไปก่อนเพื่อความเป็นสิริมงคล
เมื่อในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ซึ่งในตัวเกาะกรุง 
นั้นรอบข้างจะเต็มไปด้วยแม่น้ำลำคลอง
ชีวิตของผู้คนในสมัยนั้นจึงผูกพันกับสายน้ำจึงได้มีการสร้างเรือรบมากมาย
ในสมัยของกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีในยุคนั้น ต่อมาเมื่อบ้านเมืองได้มีความสงบสุข
ชาวบ้านในสมัยกรุงศรีอยุธยาก็หันมาเล่นเพลงเรือ แข่งเรือเป็นเรื่องเอิกเกริก
โดยเฉพาะพระเจ้าแผ่นดินกรุงสยาม เมื่อจะเสด็จฯแปรพระราชฐานไปยังหัวเมืองต่าง ๆ
หรือ ทรงเสด็จฯ ไปทอดผ้ากฐินยังวัดวาอาราม ก็จะใช้เรือรบโบราณที่สร้างขึ้นเมื่อครั้น
บ้านเมืองยังไม่สงบสุขเหล่านั้น จะนำเรือรบมาจัดเป็นกระบวนเรือที่ยิ่งใหญ่
ดังนั้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีกระบวนเรือเพชรพวง
ซึ่งเป็นเรือริ้วที่มีกระบวนที่ใหญ่มาก โดยที่จะจัดออกเป็น ๔ สายด้วยกัน
จากนั้นก็นำเรือพระที่นั่งตรงกลางอีก ๑ สาย ทั้งสิ้นแล้วใน ประเพณีไทย ( prapheni thai )
หรือ พิธี นี้ใช้เรือทั้งสิ้นไม่น้อยกว่า 100 ลำ 
ขณะที่เวลากำลังเดินกระบวนเรือนั้นระหว่างทางของการเดินเรือ
ก็มีการ เห่เรือ พร้อมเครื่องประโคมจนได้เกิดวรรณกรรมร้อยกรอง
ที่มีความไพเราะเมื่อเหล่าประชาชนชาวไทยได้ฟังแล้วต่างก็ขนลุก
บทเพลงที่มีการ เห่เรือ นั้นที่มีความไพเราะ เรียกว่า กาพย์เห่เรือ
ของ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ หรือ เจ้าฟ้ากุ้ง ซึ่งในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
ในยุคของตอนปลายสมัยกรุงศรีอยุทธยาซึ่งได้มีการบรรยายถึงความงดงาม
ของ ประเพณีไทย ( prapheni thai ) หรือ พิธี นี้ และ ลักษณะ
ของเรือในกระบวนครั้งนั้น และ ด้วยบทเห่เรือนี้ยังคง
ต้องเป็นแม่แบบของกาพย์ที่ใช้ในการเห่เรือที่ใช้กันมาจนถึง ณ ปัจจุบัน นี้

ประเพณีไทย ( prapheni thai ) หรือ พิธี
กระบวนพยุหยาตราชลมารค
ในพิธี กระบวนพยุหยาตราชลมารค อย่างในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลปัจจุบันของเรานี้ทรงได้จัด ประเพณีไทย ( prapheni thai ) หรือ พิธี 
กระบวนพยุหยาตราชลมารค มาแล้ว 17 ครั้ง โดยมีดังนี้

1.กระบวนพยุหยาตราชลมารค ในการฉลอง 25 พุทธศตวรรษ เมื่อ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2500
2.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (น้อย) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน 
ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502
3.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (น้อย) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน 
ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2504
4.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (น้อย) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน 
ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2505
5.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (น้อย) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน 
ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2507
6.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (น้อย) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน 
ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2508
7.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (น้อย) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน 
ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2510
8.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (ใหญ่) กรุงรัตนโกสินทร์มีอายุครบ 200 ปี 
เสด็จพระราชดำเนินไปบวงสรวงสมเด็จพระบูรพามหากษัตริย์เจ้า เมื่อ 5 เมษายน พ.ศ. 2525
9.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (น้อย) แห่พระพุทธสิหิงค์ เมื่อ 12 เมษายน พ.ศ. 2525
10.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (ใหญ่) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน 
ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2525
11.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (ใหญ่) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน 
ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2530
12.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (ใหญ่) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน 
ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
13.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (ใหญ่) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน 
ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
14.ขบวนเรือพระราชพิธี การประชุมกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
 หรือ เอเปก 2003 เมื่อ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2546
15.ขบวนเรือพระราชพิธี ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เมื่อ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2549
16.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (ใหญ่) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน 
ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
17.กระบวนพยุหยาตราชลมารค (ใหญ่) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน 
ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2554 (เลื่อนการจัดกระบวนไปเป็นวันที่ 
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 85 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องจากกระแสน้ำและระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาสูงและไหลแรง)



ประเพณีไทย / ประเพณี / วัฒนธรรม / วัฒนธรรมประเพณีวัฒนธรรมประเพณีไทย
ภาพแสดงแผนผังกระบวนพยุหยาตราชลมารค








เรือในกระบวนพยุหยาตราชลมารค มีดังนี้ก็คือ
เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช
เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์
เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์
เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9
เรือเอกไชยเหินหาว
เรือเอกไชยหลาวทอง
เรือพาลีรั้งทวีป
เรือสุครีพครองเมือง
เรืออสุรวายุภักษ์
เรืออสุรปักษี
เรือกระบี่ปราบเมืองมาร
เรือกระบี่ราญรอนราพณ์
เรือครุฑเหินเห็จ
เรือครุฑเตร็จไตรจักร
เรือเสือทยานชล
เรือเสือคำรณสินธุ์
เรืออีเหลือง
เรือทองขวานฟ้า
เรือทองบ้าบิ่น
เรือแตงโม
เรือดั้ง
เรือแซง
เรือตำรวจ
เรือพระที่นั่ง


ประเพณีไทย / ประเพณี / วัฒนธรรม / วัฒนธรรมประเพณีวัฒนธรรมประเพณีไทย


รายชื่อเรือพระราชพิธีในกระบวนพยุหยาตราชลมารค
เรือพระที่นั่ง : สุพรรณหงส์ / นารายณ์ทรงสุบรรณ / อนันตนาคราช / อเนกชาติภุชงค์
เรือคู่ชัก : เรือเอกไชย / เอกไชยเหินหาว / เอกไชยหลาวทอง
เรือรูปสัตว์ : พาลีรั้งทวีป / สุครีพครองเมือง / อสุรวายุภักษ์ / อสุรปักษี / กระบี่ปราบเมืองมาร / กระบี่ราญรอนราพณ์ / ครุฑเหินเห็จ / ครุฑเตร็จไตรจักร
เรือประตูหน้า : เสือทยานชล / เสือคำรณสินธุ์ / ทองขวานฟ้า / ทองบ้าบิ่น
เรือกลอง อีเหลือง / แตงโม
เรือพระราชพิธีอื่น : เรือดั้ง / เรือแซง / เรือตำรวจ

นี่คือส่วนหนึ่งของเนื้อหาที่นำมาสรุปในเรื่องราวของ กระบวนพยุหยาตราชลมารค
เพื่อให้เพื่อน ๆ น้อง ๆ ฯลฯ ที่ได้เข้ามาอ่านนั้นเข้าใจได้ง่าย ด้วย ประเพณีไทย ( prapheni thai )
หรือพิธีสำคัญนี้นาน ๆ ทีจะมีครั้งนึงหรือบ้างก็บอกว่า ๔ ปีมีครั้ง 
ในประเพณีไทยหรือพิธีนี้เป็นสิ่งที่สวยงามมากเลยทดำให้ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ
ต่างก็แห่กันมาดูพิธีนี้
ขอขอบคุณเนื้อหาที่นำมาสรุปจาก wikipedia.org