ประเพณีไทย Traditional Thailand

ประเพณีไทย ( Traditional Thailand ) ภาคใต้ แห่นางดาน

ประเพณีไทย Author on วันพฤหัสบดีที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ประเพณีไทย traditional thailand / วัฒนธรรมประเพณีไทย 
ประเพณีไทย ภาคใต้ ในพิธี แห่นางดาน ความหมายของนางดาน หรือ นางกระดาน
ก็หมายถึงว่าแผ่นไม้กระดานขนาดกว้างหนึ่งศอกสูงสี่ศอกที่วาด หรือ การแกะสลัก
รูปเทพบริวารในคติพราหมณ์ที่มีด้วยกันจำนวน ๓ องค์ 

แผ่นที่ ๑ คือ 
พระอาทิตย์ พระจันทร์

แผ่นที่ ๒ คือ
แม่พระธรณี

แผ่นที่ ๓ คือ
พระแม่คงคา

เพื่อที่จะนำไปใช้ในขบวนแห่เพื่อที่จะรอรับ เสด็จพระอิศวร 
ที่จะเสด็จมาเยี่ยมมนุษย์โลก ณ ที่ เสาชิงช้า

ประเพณีไทย ภาคใต้ ในพิธีนี้มีความเชื่อกันว่าการที่เสด็จมาเยี่ยม
มนุษย์โลกเพื่อที่จะประสาทพรที่ให้มนุษย์โลกมีความสงบสุข
และให้เหล่าน้ำท่ามีความอุดมสมบูรณ์ และ ที่สำคัญ
จะช่วยให้มนุษย์อยู่อย่างปลอดภัยแคล้วคลาดโลกภัย
ซึ่งด้วย ประเพณีไทย ( Traditional Thailand ) ตามพิธีนี้
มีความเชื่อว่าในการที่เสด็จลงมาของ พระอิศวร
นั้นในทุกครั้งทรงเสด็จลงมาในเดือนอ้าย
ซึ่งเป็นปีใหม่ของชาวพราหมณ์ฮินดู
เพื่อที่จะให้ ประเพณีไทย ( Traditional Thailand ) แห่นางดาน
ได้เป็นที่รู้จัก และ คงไว้ซึ่ง ประเพณีไทย ( Traditional Thailand ) เก่าแก่
ของเมือง นครศรีธรรมราช และ ประเพณีไทย ( Traditional Thailand ) แห่นางดาน

ก็ได้เกิดขึ้นเป็นที่แรกของเมืองไทย
ด้วยในปัจจุบัน ประเพณีไทย ( Traditional Thailand ) แห่นางดาน
จะจัดขึ้นในวันที่ ๑๔ เดือน เมษายน ของทุก ๆ ปี
โดยจะมีขบวนแห่นางดานในการแห่ขบวนจะแห่มาจากสนามหน้าเมือง
มาที่หอพระอิศวร การแสดง สี เสียง ของ ประเพณีไทย ( Traditional Thailand )
ตำนานนางดาน และ เทพเจ้า ที่มีความเกี่ยวข้อง
ในการจำลองพิธีแห่นางดาน และ การโล้ชิงช้า ซึ่งเป็นการโล้ชิงช้า
นอกเขตเมืองหลวงแห่งเดียวของเมืองไทยในปัจจุบันนั้นโดย
เทศบาล นครนครศรีธรรมราช จะเป็นผู้ที่รับผิดชอบ
และ ถือว่าเป็นกิจกรรมสำคัญในปฏิทินการท่องเที่ยวใน 
ประเพณีไทย ( Traditional Thailand ) อย่าง เทศกาล สงกรานต์
ที่ถือว่าเป็น ประเพณีไทย ( Traditional Thailand ) ที่สำคัญของไทยอีกด้วย