ประเพณีไทย Traditional Thailand

ประเพณีไทย ( Traditional Thailand ) แก้หนาว “ตีคลีไฟ”

ประเพณีไทย Author on วันพุธที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ประเพณีไทย / วัฒนธรรม / ประเพณี / วัฒนธรรมประเพณี /
วัฒนธรรมประเพณีไทย / ประเพณีไทย

















ประเพณีไทย ( Traditional Thailand ) ก็มีอยู่หลายประเพณีด้วยกันซึ่งหลาย ๆ ประเพณีไทย ของ ไทยเรา
ก็มีหลายประเพณีที่สวยงามแตกต่างกันไป และ ต่อมาก็ได้มี ประเพณีไทย ได้ถือกำเนิดขึ้น
มาจากรุ่นของบรรพบุรุษซึ่งถือว่าเป็นต้นตำนานของประเพณีไทยนี้ที่จะเรียกเป็นวัฒนธรรมเลยก็ว่าได้
แต่ว่าในประเพณีไทย นี้จะมีแค่ในท้องถิ่นเท่านั้นชาวบ้านจะเรียกว่า "ประเพณีตีคลีไฟ”
ส่วนมากในประเพณี “ตีคลีไฟ” นี้จะเล่นกันในส่วนของบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ซะเป็นส่วนใหญ่โดยในพื้นที่มีการละเล่นประเ้พณีไทย
นี้จะมีการเล่นที่ บ้านหนองเขื่อง ต.กุดตุ้ม อ.เมือง จ.ชัยภูมิ
"ตีคลีไฟ" นี้เป็นประเพณีไทยในช่วงฤดูหนาวและในยามออกพรรษาเท่านั้น
แต่แรกแล้วประเพณีไทยที่เรียกว่า "ตีคลีไฟ" นั้นก็เริ่มมาจาก "ตีคลีโหลน"
ที่ยังไม่ได้มีการจุดไฟที่ลูกคลีและเป็นการแข่งขันตีไกล
ดังนั้นผู้ที่ร่วมเล่นประเพณีไทยนี้ที่ตีลูกคลีได้ไกลกว่าจะถือว่าเป็นผู้ชนะ
และต่อมาในประเพณีไทยการละเล่นนี้ก็ได้ถูกพัฒนามาเล่นแข่งขันกันเป็นทีม

ในสมัยก่อนการตีลูกคลีนี้จะเล่นในช่วงบ่ายถึงช่วงค่ำ
ในภายหลังที่จะการเดินทางไปทำไร่ทำนา และ เดินทางไปอาบน้ำ
แต่ในระหว่างทางที่เดินนั้นมีอากาศหนาวซึ่งชาวบ้านคิดหาวิธีออกกำลังกาย
ที่จะคลายความหนาวที่อากาศมีความหนาวในระดับนึง
ซึ่งในการออกกำลังกายเพื่อคลายหนาวก็จะมีการต่อยมวยกัน
แล้วยังมีทั้งการตีคลีที่จะช่วยให้ร่างกายมีความอบอุ่นได้โดย
อุปกรณ์ก็มีเพียงแค่ลูกคลีที่ทำขึ้นมาเพียงแค่จากไม้งิ้ว (นุ่น) หรือ ไม้ทองหลาง
เพราะวัสดุเหล่านี้มีน้ำหนักที่เบ่าที่เหมาะกับการเอามาทำลูกคลี
และวัสดุที่ตีคือไม้ที่เป็นเป็นเพียงเหง้าไม้ไผ่ที่จะมีลักษณะคล้ายตะขอ
ในส่วนของการตีคลีไฟนั้นก็มาจากความคิดของชาวบ้านในท้องถิ่นนั้
ที่เกิดจากการก่อกองไฟในช่วงพระอาทิตย์ตกดินในระหว่างที่มีการละเล่น
ประเพณีไทย ตีคลีและด้วยความบังเิอิญนั้นลูกคลีก็เกิด
กลิ้งตกเข้าไปในกองไฟที่ชาวบ้านได้ก่อขึ้นจึงได้ทำให้ลูกคลีที่แสนจะธรรมดา
ได้มีประกายไฟเกิดขึ้นได้เห็นลูกคลีอย่างสวยงามเมื่อลูกคลีติดไฟ
ในเวลาที่ตีก็จะเกิดสะเก็ดไฟมองเห็นลูกคลีอย่างชัดเจน
จากนั้นการ "ตีโหลน" ก็พัฒนามาจนกลายเป็น "ตีคลีไฟ"
จากนั้นเมื่อเวลาได้ผ่านไปนาน ๆ เข้า ใน ประเพณีไทย
ที่กลายเป็นวัฒนธรรม การ "ตีคลีไฟ" ก็ได้เริ่มเลือนหายจากไป
ด้วยการที่เหล่าหนุ่มสาวที่ได้ออกไปหางานทำในต่างเมืองต่างท้องถิ่น
เมื่อเวลาได้ผ่านไปช่วงนึง ชาวบ้านในท้องถิ่นนั้นก็ได้นำประเพณีไทย
ที่การละเล่น "ตีคลีไฟ" เป็นวัฒนธรรมในท้องถิ่นของพวกเขา
นำกลับมาเริ่มเล่นใหม่ที่บ้านหนองเขื่องนี้ และ ประเพณีไทย
ของบ้านหนองเขื่องที่ก็ได้มีการสืบทอดกันมามากกว่าสิบปีแล้ว
โดยจะจัดที่ในช่วงวันออกพรรษา
การตีคลีไฟนั้นในปัจจุบันจะแบ่งเป็นสองฝ่ายด้วยกัน
โดยที่จะใช้สนามการตีคลีไฟที่มีขนาเดียวกับฟุตซอล
ลูกคลีและไม้ตียังคงอนุรักษ์ไว้แบบเดิมเพื่อไม่ให้ประเพณีไทย
วัฒนธรรมในท้องถิ่นจางหายไปเพียงแต่ว่าขนาดไม้ไผ่
จะยาวออกไปประมาณ ๘0 - ๑๒0 เซนติเมตร
หรือขนาดของไม้จะแบ่งขนาดไปตามความสูงของผู้ที่ร่วมเล่นประเพณีนี้
และหลักในการเล่นของตีคลีที่เป็นประเพณีไทยสืบทอดมากันหลายสิบปี
ถูกพัฒนาการจะเล่นคล้ายกับการเล่นฟุตบอลคือว่าจะใช้ไม้ตีส่งต่อ ๆ กัน
แต่ว่าต้องพยายามตีให้เข้าประตูของฝ่ายตรงข้าม
จะถือว่าผู้ที่ตีเข้าประตู้ฝ่ายตรงข้ามนั้นได้หนึ่งแต้ม
สำหรับการตีนั้น จะต้องตีที่ไม้ไม่เกินความสูงของระดับเอว
หากว่าถ้าสูงเกินกว่าเอวจะผิดกติกาทันที ฝ่ายตรงข้ามจะได้ตั้งลูกคลีเริ่มเล่นเกมส์ใหม่
ณ. จุดที่ผิดกติกาเท่านั้น แต่ในกติกาที่ถูกตั้งขึ้นมาใหม่ในปัจจุบันนั้น
เพื่อให้การตีคลีเป็นสากลมากขึ้น และ เพื่อให้ผู้ที่ชมการตีคลีมีความปลอดภัยมากขึ้น
เพราะว่าในการตีคลีไฟนั้นถือว่าเป็นอะไร
ที่อันตรายมากสำหรับผู้ที่มาชมประเพณีการตีคลีไฟที่ไม่คุ้นเคย

ขอขอบคุณภาพประเพณีไทย การตีคลีไฟจาก Google ด้วยครับ